KKP Contact Center :
02 165 5555
รายละเอียด
คุณเกียรติ วัธนเวคิน ประธานผู้ก่อตัั้งธนาคารเกียรตินาคิน ได้วางรากฐานการดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคมของธนาคารไว้ว่า
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
หน่วยงานกำกับดูแล ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารได้กำหนดนโยบายการบริหารจัดการด้านการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม (Market conduct)
สำนักงาน ก.ล.ต. ธนาคารกำหนดแนวทางและวางแผนการดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการขายกองทุนรวมเพิ่มเติม เช่น การทำ Call Back, จัดทำ Mutual Fund Sale Check list, การสุ่มตรวจสอบบริการโดยไม่เปิดเผยตัว (Mystery Shopping)
ผู้ถือหุ้น ธนาคารได้ดำเนินธุรกิจตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2561 และได้มีการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี
ลูกค้า กำหนดดอกเบี้ยสินเชื่อเช่าซื้อ ให้กับผู้ขับแท็กซี่ ต่ำกว่าอัตราตลาดและให้เงื่อนไขพิเศษ, การประมูล
คู่ค้า ร่วมกับบ, เจนเนอราลี่ (ไทยแลนด์} พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละกลุ่มลูกค้า
พนักงาน มีแผนสวัสดิการรักษาพยาบาลแบบยืดหยุ่น, กิจกรรมชมรมต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรและความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร
ชุมชนรอบข้าง/สังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเงินและสร้างวินัยทางการเงิน
การกำกับดูแลกิจการ
ปรับปรุงหลักการกำกับดูแลกิจการของธนาคาร ปี 2561 ใน 5 หมวด ได้แก่
หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน
หมวดที่ 3 บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการธนาคาร
การสนับสนุนส่งเสริมระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
ในภาพรวมกลุ่มธุรกิจฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ สอดคล้องเป็นไปตามกรอบการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ที่คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด
การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน
ธนาคารจัดให้มีช่องทางการแจ้งข้อมูล ร้องเรียน ผ่านช่องทางต่างๆ และให้ความสำคัญกับการรักษาข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส ข้อมูลการร้องเรียน และเอกสารหลักฐานต่างๆ ไว้เป็นความลับ
จรรยาบรรณธุรกิจและการต่อต้านการทุจริต
มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายตามจรรยาบรรณธนาคารพาณิชย์ (Banking Industry Code of Conduct) มีผลบังคับใช้กับทุกหน่วยงานในกลุ่มธุรกิจฯ ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2560 เป็นต้นมา
การบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงตามแนวทาง ERM
การออกผลิตภัณฑ์ใหม่และการเปลี่ยนแปลงทำงานจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และได้รับการอนุมัติจากคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมผลิตภัณฑ์และกระบวนการทำงานใหม่แล้ว จึงจะสามารถดำเนินการในเชิงธุรกิจได้
ระบบการบริหารจัดการเงินกองทุนที่เพียงพอ
ธนาคารจัดทำนโยบายการบริหารเงินกองทุน (Capital Mangement Policy) ตามมาตรฐาน และสอดคล้องกับนโยบายอื่นๆ เช่น นโยบายการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจฯ และนโยบายการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP Policy) และเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการกำกับดูแลเงินกองทุนโดยทางการ (Pillar 2) ตามประกาศที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด โดยคำนึงถึง
การส่งเสริมวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร
การจัดการภาวะวิกฤต
ในปี 2561 ธนาคารมีการทบทวนหลักเกณฑ์การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของธนาคาร โดยกำหนดให้มีกระบวนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจที่เหมาะสม ครอบคลุมขั้นตอนดังนี้
การบริหารจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
การประเมินผลความพึงพอใจของลูกค้าในปี 2561
โครงการ Super Branch Award 2018
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
การดำเนินการทางภาษี
กลุ่มธุรกิจฯ ได้วางหลักเกณฑ์การปฏิบัติด้านภาษีอากรไว้ในนโยบายที่เกี่ยวข้องหลายเรื่อง ดังนี้
นวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม
ตัวอย่างนวัตกรรมทางธุรกิจและสังคมในปี 2561
ความร่วมมือด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานภายนอกเพื่อประโยชน์ต่อสังคม
นวัตกรรมด้านการพัฒนาระบบงาน
ยกระดับระบบหลักของการทำธุรกรรมทางการเงิน (IT Core Banking System)
นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์เงินฝาก
นวัตกรรมด้านสินเชื่อ
นวัตกรรมด้านช่องทางให้บริการ
นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ประกันภัย
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน
กระบวนการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม
เอกสารดาวน์โหลด